วันศุกร์ที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2558

สรุปโทรทัศน์ครู

สรุปรายการโทรทัศนครูเรื่องการเรียนรู้นอกห้องเรียน โดยการส่องนกในโรงเรียน

โรงเรียนอนุบาลเซอเรย์ สแควร์ เป็ยโรงเรียนใจกลางเมืองกรุงลอนดอน

ในคณะที่โรงเรียนอนุบาลวูเลนวิค อยู่ในฮารต์ฟอร์ดเชียร์

               กิจกรรมการส่องนกในโรงเรียนสามารถช่วนส่งเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์ได้
ทักษะในการสังเกต เด็กปฐมวัยใช้กล้องทางไกลส่องนกสังเกตโดยใช้ตา

ทักษะการจำแนก จำแนกประเภทของนก มีหลายชนิด หลายสี หลายขนาดแตกต่างกัน

ทักษะการวัด เด็กวัดขนาดตัวนกด้วยสาย โดยวัดได้ว่ามีทั้งตัวเล็กตัวใหญ่แตกต่างกัน

ทักษะการสื่อความหมาย เด็กตอบครูได้ว่านกมีสีอะไรบ้าง แตกต่างกันตรงไหนและตอบคำถามปริศนาของครูได้ก่อนที่จะเริมทำกิจกรรมสองนกบอกจุดที่อยู่ของนกได้ผ่านการใช้กล้องส่องทางไกลเด็กทุกคนมีกระดานและกระดาษสำหรับจดบันทึก ใช้ในการขีดนับจำนวนนกแต่ละชนิดว่ามีกี่ตัว

ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล เด็กตอบครูได้ว่านกอยู่ตรงไหนโดยการส่องกล้องในการส่องนกเด็กได้สัมผัสกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายนอกห้องเรียนที่มีอยู่ให้เด็กๆได้เรียนรู้ผ่ากิจกรรมและรู้จักแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ได้สังเกตสิงที่เป็นธรรชาติอยู่รอบตัวอย่าใกล้ชิดเช่น ต้นไม้ ดอกไม้ป่า ทงหญ้า เด็กได้ร่วมกิจกรรมคือให้อาหารนกรอบๆโรงเรียน เด็กๆได้เห็นนกรอบๆบริเวณโรงเรียนเพื่อนกจะได้รู้ว่าสามารถมากินอาหารตรงนี้ได้ จะช่วยทำให้มีนกหลากหาลายสายพันธ์เข้ามารอบๆบริเวณโรงเรียนและเด็กก็จะได้เห็นนกมากมาย ได้รู้จักขั้นตอนการทำอาหารให้นกจะได้เตรียมไว้ก่อนออกไปส่องนกก่อนการทำกิจกรรมครูได้สอนให้เด็กๆรู้จักนกแต่ละชนิดเพื่อที่เด็กจะได้นับถูกว่านกแต่ละชนิดมีกี่ตัว สุดท้ายนี้ครูให้เด็กๆสรุปร่วมกันกับเพื่อนๆว่าเด็กๆเห็นนกอะไรบ้างเป็นการให้ความสำคัญกับเด็ก


วันพุธที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2558

สรุปวิจัย


วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย



 วิจัยเรื่อง  การคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์

  โดย คุณเสกสรร  มาตวังแสง

ความมุ่งหมายของการวิจัย

       1.  เพื่อศึกษาระดับการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์โดยจำแนกรายด้านดังนี้การ  วิเคราะห์ การใช้เหตุผล การสังเคราะห์ การประเมินค่า
       2.  เพื่อเปรียบเทียบการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยก่อนและหลังได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์

ความสําคัญของการวิจัย

เป็นแนวทางสําหรับครูในการนํากิจกรรมวิทยาศาสตร์มาใช้สําหรับเด็กปฐมวัยเพื่อพัฒนาการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัย นอกจากนี้ยังเป็นแนวทางในการพัฒนาปรับปรุงรูปแบบการจัดกิจกรรม เพื่อส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยเกิดการคิดได้เต็มตามศักยภาพ  ตามจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษาระดับปฐมวัย ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาให้มีประสิทธิภาพ

ขอบเขตของการวิจัยประชากร

ประชากรที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้คือเด็กปฐมวัย ชาย – หญิงอายุระหว่าง 5 – 6 ปีซึ่งกําลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 ของโรงเรียนเทศบาลวัดเนินสุทธาวาส (สุทธิพงษ์ประชานุกูล) อ.เมืองชลบุรี จ.ชลบุรีสังกัดสํานักการศึกษาเทศบาลเมืองชลบุรี  จํานวน 50 คน
กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นเด็กปฐมวัย ชาย – หญิง อายุระหว่าง 5 – 6 ปี  กําลังศึกษาอยูในระดับอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552 ของโรงเรียนเทศบาลวัดเนินสุทธาวาส (สุทธิพงษ์ประชานุกูล) อ.เมืองชลบุรีจ.ชลบุรีสังกัดสํานักการศึกษาเทศบาลเมืองชลบุรี

สรุปผลการวิจัย
จากผลการทดลอง พบว่า เด็กปฐมวัยมีการคิดวิจารณญาณทั้งในภาพรวมและรายด้านสูงขึ้นกว่าก่อนได้รับการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้แสดงให้เห็นว่าการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ช่วยส่งเสริมการคิดวิจารณญาณของเด็กปฐมวัยให้พัฒนาอยู่ในระดับที่ดีขึ้นทั้งนี้สามารถอภิปรายได้ดังนี้
 การที่เด็กปฐมวัยมีการคิดวิจารณญาณสูงกว่าก่อนการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เพราะรูปแบบการจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เด็กเป็นผู้ลงมือปฏิบัติการทดลองด้วยตนเอง เด็กได้สํารวจวัสดุอุปกรณ์จําแนก บอกรายละเอียด ความเหมือน ความแตกต่างของวัสดุอุปกรณ์ตามลักษณะและคุณสมบัติ การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์จะเน้นการปฏิบัติทดลองรูปแบบกิจกรรมเนื้อหาสอดคล้องกับวัยและวุฒิภาวะในการเรียนรู้ของเด็กเป็นการจัดประสบการณ์ตรงที่เปิดโอกาสให้เด็กได้มีปฏิสัมพันธ์กับวัตถุสิ่งของ เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้เด็กมีโอกาสได้ฟังสังเกต คิดแก้ปัญหาใช้เหตุผลและฝึกปฏิบัติทําให้เด็กเกิดความคิดรวบยอดในเรื่องที่เรียน       ในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้งเด็กสามารถเรียนรู้ได้โดยใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าในการเคลื่อนไหวสํารวจเล่น สังเกต สืบค้น ทดลองและคิดแก้ปัญหาด้วยตนเอง ในขณะที่เด็กทําการทดลองจะเห็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และคิดหาเหตุผลของการเปลี่ยนแปลงระหว่างการทดลองที่เกิดขึ้น ซึ่งได้จากการสังเกตและประสบการณ์เดิมของเด็กเอง แล้วเด็กร่วมกันสรุปผลการทดลองที่เกิดขึ้น เด็กช่วยกันคิดและหาข้อสรุปที่ได้จากการสังเกตผลการทดลองอย่างมีเหตุมีผลตามความเข้าใจของตน ทําให้เกิดการพัฒนาทางสติปัญญาหรือความคิด โดยครูจะใช้คําถามเชื่อมโยงจากกิจกรรมเพื่อกระตุ้นให้เด็กได้คิดรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการทํากิจกรรม ให้เกิดการวิเคราะห์การใชเหตุผล การสังเคราะห์และการประเมินค่าตัวกิจกรรมนั้นจะเป็นสิ่งที่เอื้ออํานวยให้เด็กสังเกต รับรู้ทําให้เด็กมีโอกาสฝึกคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เด็กได้กระทําลงไป การฝึกให้เด็กได้มีโอกาสพัฒนาการคิดแก้ไขปัญหาต่างๆ เผชิญกับสถานการณ์ที่เป็นปัญหาและสามารถเลือกตัดสินใจได้อย่างถูกต้องเหมาะสม สามารถพัฒนาให้เด็กคิดระดับสูงได้และในการคิดจะต้องให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงข้อสังเกตที่ได้จากการวิจัย จากการศึกษาครั้งนี้พบว่า
1. กิจกรรมวิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมที่เด็กได้ลงมือปฏิบัติการทดลองด้วยตนเอง เด็กจะเกิดสนใจและตื่นเต้นในขณะที่ทําการทดลองได้เห็นถึงขั้นตอนในการทดลอง เห็นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น และทําให้เด็กเกิดความสงสัยในระหว่างการทดลอง ซึ่งครูจะใช้คําถามกระตุ้นเพื่อให้เด็กได้คิดหาคําตอบและสรุปผลการทดลองตามความเข้าใจของเด็กเอง

2.  การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์เด็กจะได้หยิบ จับ สัมผัสสังเกต วัสดุอุปกรณ์ต่างๆอย่างอิสระ เพื่อวิเคราะห์ลักษณะ ความเหมือน ความแตกต่าง ของวัสดุอุปกรณ์ที่จะนํามาใช้ในกิจกรรมวิทยาศาสตร์

นิยาม ศัพท์เฉพาะ
การคิดวิจารณญาณ การวิเคราะห์  การใช้เหตุผล  การสังเคราะห์  การประเมินค่า
ตัวแปรต้น  การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ตัวแปรตาม  การคิดวิจารณญาณ


บทความ


บทความ


                                                             สรุป   สอนให้รู้จักเสียง


การที่คนเราได้ยินเสียง เพราะมีคลื่นเสียงผ่านอากาศมากระทบกับหูของเรา เสียงที่เราได้ยินมาจากแหล่งเกิดเสียงต่างๆ ได้แก่ เสียงของคน สัตว์ เสียงวัตถุกระทบกัน แต่ละเสียงมีความหมายที่สื่อสารถึงกัน หรือนำเสียงเหล่านั้นมาใช้ประ โยชน์ เช่น เสียงคนหรือสัตว์ จะบอกความรู้สึกอารมณ์ขณะเปล่งเสียง เราจะได้ยินเสียงของคนหัวเราะ แสดงอารมณ์เบิกบานใจ เสียงร้องไห้ บอกถึงความเสียใจ เศร้าใจ วิตกกังวล การพูดเสียงดังหรือตะโกน หวีดร้องอาจจะเป็นเสียงที่บอกถึงความตกใจ ไม่พอใจ มีอารมณ์โกรธ แต่เสียงตะโกนก้องกระหึ่มของการเชียร์กีฬา จะบอกถึงความสนุกสนาน สัตว์ก็มีเสียงที่เปล่งหรือร้อง สื่อความรู้สึกตามสัญชาติหรือธรรมชาติของมันเช่นกัน เช่นเสียงร้องเพราะหิว ตกใจ หวาดกลัว หาคู่ ฯลฯ เสียงธรรมชาติรอบตัว ได้แก่ เสียงลมพัด เสียงน้ำไหล เสียงคลื่นในทะเล เสียงที่มนุษย์สร้างขึ้น หรือกระทำ เช่นเสียงดนตรี เสียงตอกไม้ เสียงตีกลอง ฯลฯ เสียงเหล่านี้เด็กจะได้รู้ได้ยินผ่านในชีวิตประจำวันหรือสิ่ง แวดล้อมรอบตัว แต่การสอนให้เด็กรู้ เข้าใจ และใช้เสียงอย่างเหมาะสม จะส่งเสริมให้เด็กมีชีวิตอย่างมีความสุข การสอนเรื่องเสียงจะเป็นการเรียนรู้ได้ทั้งความเป็นวิทยาศาสตร์ คือธรรมชาติของเสียง ประเภทของเสียงที่อยู่รอบตัวเรา หรือ การฝึกใช้เสียงในการสื่อสารในสังคม เช่นมารยาทของการเปล่งเสียง พูดจากัน การใช้เสียงเพื่อความบันเทิง เช่นร้องเพลง เล่นดนตรี ฯลฯ เรื่องเสียงจึงเป็นสาระการเรียนรู้ที่ช่วยพัฒนาชีวิตเด็กให้เจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพได้เป็น
เสียงธรรมชาติที่ทำให้เด็กๆตกใจ เกิดความหวาดกลัว คือเสียง ฟ้าร้อง ฟ้าผ่า ครูควรเข้าใจสาเหตุของการเกิดเช่นนั้นว่า เสียงฟ้าผ่าเป็นเสียงที่เราได้ยินการสั่นสะเทือนของอากาศที่อยู่สูงขึ้นไปในก้อนเมฆ ซึ่งเกิดจากการขยายตัวอย่างรวดเร็ว
เครื่องบินเจ็ทเป็นเครื่องบินที่เคลื่อนที่รวดเร็วมาก บางครั้งจะเกิดการชนกับอากาศที่อยู่ข้างหน้า ซึ่งกำลังสะเทือนอยู่แล้วจากเสียงของเครื่องบิน เสียงนั้นเดินทางเร็วอยู่แล้ว แต่เครื่องบินเจ็ทบินเร็วกว่า คนที่อยู่ข้างล่างจึงได้ยินเสียงที่ชนกันเหมือนเสียงระเบิดของอากาศดังลั่นไปหมด





วันศุกร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ๅ16



วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


วันที่ 02 ธันวาคม  2557


ในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้นำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครูของแต่ละคนเพื่อนได้นำเสนอเรื่อง  

วิจัย

-การคิดเชิงเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์
-ผลการจัดประสบการที่เน้นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
-ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัยที่ได้รับจากการจัดประสบการณ์เรียนรู้แบบ-โครงงานกับแบบสืบเสาะหาความรู้
-ทักษะทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
โทรทัศน์ครู
-สร้างพื้นฐานการเรียนรู้กับกิจกรรม 5 ประสาทสัมผัส

-วิทยาศาสตร์สนุก
-เสียงและการได้ยิน
-ผงวิเศษช่วยชีวิต
หลังจากนำเสนอเรียบร้อยแล้ว อาจารย์ก็ให้ทำงานกลุ่มต่อ การสอนทำแผ่นพับสารถึงผู้ปกครอง
เพื่อแจ้งข่าวสารให้ผู้ปกครองรับทราบโดยให้ทุกคนในกลุ่มช่วยกันออกแบบให้สวยงามและเลือก
อันที่สวนที่สุดส่งคุณครู

                     

การนำไปใช้

เราสามารถนำความรู้ที่ได้ในวันนี้ ไปใช้ในอนาคตได้ สามารถนำความรู้ที่ได้วันนี้ไปเผยแผ่ให้กับเด็กได้เพราะในชีวิตประจำวันนี้วิทยาศาสตร์สำคัญ กับเด็กมาก จากการฟังที่เพื่อนนำเสนอสามารถนำไปใช้สอนได้ เช่นเรื่อง ผงวิเศษช่วยชีวิต




การประเมินผล

ประเมินตนเอง  แต่งกายเรียนร้อย มีส่วนร่วมกันมนตอบคำถาม
ประเมินเพื่อน  เพื่อนๆตั้งใจนำเสนอโทรทัศน์ครู และวิจัย เพื่อนทำขนมอย่างสนุกสนาม
ประเมินผู้สอน อาจารย์ได้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับโทรทัศน์ครูและวิจัย และยังให้คำแนะนำเกี่ยวกับแผน

อีกด้วย

บันทึกอนุทินครั้งที่15



วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย


 วันที่ 22 เดือน พฤศจิกายน 2557

cream5copy.gif image by MMEEWWcream5copy.gif image by MMEEWWcream5copy.gif image by MMEEWWcream5copy.gif image by MMEEWWcream5copy.gif image by MMEEWWcream5copy.gif image by MMEEWWcream5copy.gif image by MMEEWWcream5copy.gif image by MMEEWW


        1NyankoPencilBlue.gif image by MMEEWW  มโนทัศน์การเรียนรู้ การปรุงอาหารเกิดจากการผสมส่วนประกอบของอาหารต่าง ๆ เข้าด้วยกันอย่างถูกต้องตามชื่ออาหารนั้นให้ได้รสที่ต้องการ ผลลัพธ์การเรียนรู้ ปรุงอาหารเป็น รู้จักรสอาหาร เช่น เค็ม เปรี้ยว หวาน สนุกกับการทำงานร่วมกับเพื่อน สิ่งที่เด็กต้องปฏิบัติ ช่วยกันวางแผนปรุงอาหารอย่างใดอย่างหนึ่งที่กลุ่มเลือก และช่วยกันปรุงอาหารนั้น
ไฟฟ้าและพรรณพืช (สำรวจ/สังเกตการเจริญเติบโตของพรรณพืชการทดลองโดยใช้กระแสไฟฟ้าทำกับน้ำเกิดOxygen ช่วยในการเจริญเติบโตของพืช)
 สอนเรื่องการเจริญเติบโตของพืช โดยใช้สื่อการเรียนรู้ยอกห้องเรียน และให้นักเรียนสังเกตการณ์เจริญเติบโตของพืช จากนั้น ให้เด็กทำโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่องไฟฟ้าและพันธุ์พืช ซึ่งจากการที่เด็กได้ลงมือทำแล้ว มีสื่อ มีอุปกรณ์ให้เด็กได้ทำการทดลองเด็กก็จะเกิดทักษะกระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์

cupcute16.jpg image by MMEEWWcupcute16.jpg image by MMEEWWcupcute16.jpg image by MMEEWWcupcute16.jpg image by MMEEWWcupcute16.jpg image by MMEEWWcupcute16.jpg image by MMEEWW
bunnycalc2.gif image by MMEEWWวิจัย
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูเรื่องสีธรรมชาติที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของ    เด็กปฐมวัย (การลงมือปฏิบัติ/คั้นน้ำจากผัก/ผลไม้/ดอกไม้เพื่อเอาสีมาทำผสมอาหาร  หรือทำงานศิลปะ) การเรียนรู้เรื่องสี คือสิ่งที่อยู่รอบๆตัวเด็ก  สิ่งที่อยู่ตามธรรมชาติ เช่น ผัก ผลไม้ ดอกไม้นิยามศัพท์ ได้ทักษะการสังเกต  จำแนกประเภท ทักษะการหาความสัมพันธ์  ทักษะการลงความเห็น
การเสริมประสบการณ์เรื่องแสงที่มีต่อทักษะการแสวงหาความรู้ของเด็กปฐมวัย   กิจกรรมส่งให้แสวงหาความรู้เกี่ยวกับทักษะความรู้ ซึ่งแสงได้อยู่รอบๆตัวเรา และนำไปประยุกต์ใช้ในกิจกรรมเสริมประสบการณ์เรื่องของแสง  เพื่อพัฒนาและส่งเสริมทักษะของเด็กปฐมวัย  
การพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเครื่องดื่ม    สมุนไพร (การจำแนก/สังเกต/สื่อความหมายของข้อมูล) 
    ทักษะที่ได้จากการทำกิจกรรม
        -ทักษะการสังเกต
        -ทักษะการจำแนก
        -ทักษะการสื่อความหมายของข้อมูล





  cakey2.gif image by MMEEWWสรุปวิจัย
 เด็กปฐมวัยมีการพัฒนาทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์สูงขึ้นเมื่อได้รับการจัดกิจกรรมการทำน้ำสมุนไพร

ความรู้ที่ได้รับ
ในสัปดาห์นี้อาจารย์ให้นำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครูของแต่ละคนโทรทัศน์ครู
 - การกำเนิดของเสียง (การใช้ช้อนซ้อม/โลหะที่มีคุณสมบัติต่างกันมาตีกัน)
   ได้ฝึกทักษะการคิด การทดลอง การใช้คำถามกับเด็ก เช่น เสียงต่างกันอย่างไร และมาจากไหน

กิจกรรมนี้ใช้ได้กับเด็กปฐมวัย จะต้องเปลี่ยนแปลงกิจกรรมให้ง่ายกว่าเดิมเพื่อที่จะเหมาะสมกับเด็ก
 - สารอาหารในชีวิตประจำวัน (นำแกงส้มมาแล้วนำกระดาษทดลองจุ่มลงไปสังเกตการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น)


กิจกรรม Cooking  Waffle 




Photobucket - Video and Image Hosting

   taartjefeestfk3.gif image by MMEEWWส่วนผสม

  1.แป้ง

  2.เนย

  3.ไข่ไก่

  4. น้ำเปล่า

   taartjefeestfk3.gif image by MMEEWWขั้นตอนการทำ

1.เทแป้งลงในภาชนะที่เตรียมไว้

2.นำไข่ใส่ลงไปตามด้วยเนยจืดคนให้เข้ากัน

3.เติมน้ำเพื่อไม่ให้แป้งข้นจนเกินไป

4.คนจนแป้งเข้าที่เป็นเนื้อเดียวกันก็จะได้แบบนี้

5.แบ่งแป้งใส่ถ้วยที่เตรียมไว้

6.นำเนยทาที่แม่พิมพ์ที่เตรียมไว้เพื่อไม่ให้แป้งติดแม่พิมพ์

7.นำแป้งที่แบ่งไว้ในถ้วยเทลงในแม่พิมพ์ที่เตรียมไว้

8.รอจนสุกก็จะได้ออกมาเป็นหน้าตาแบบนี้




การนำไปประยุกต์ใช้

  cupcute4.jpg image by MMEEWW สามารถนำความรู้ที่ได้จากการฟังเพื่อนออกมานำเสนอและที่อาจารย์อธิบายให้ฟังสามารถนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอนในอนาคตได้เพราะบางกิจกรรมบางวิจัยที่ศึกษาสามารถนำมาปรับใช้กับการเรียนการสอนเด็กในการจัดกิจกรรมที่หลากหลายให้กับเด็กได้เกี่ยวกับทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์รวมถึงการทำWaffleสามารถนำวิธีการขั้นตอนการทำมาใช้สอนเด็กในอนาคตได้ซึ่งจะทำให้เด็กมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมและได้ทักษะทางวิทยาศาสตร์อีกด้วยในเรื่องการสังเกต/การลงมือปฏิบัติ/การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง ในการดม ชิมรส การสัมผัส ตาดู หูฟัง


การประเมิน


ประเมินตนเอง 

  cupcute4.jpg image by MMEEWW  แต่งกายถูกระเบียบตั้งใจฟังที่อาจารย์สอนและอธิบายถึงวิธีการสอนเทคนิคการสอนเด็กให้เด็กเข้าใจเป็นขั้นๆและสามารถที่จะนำความรู้ที่อาจารย์สอนไปใช้ได้จริงและนำไปพัฒนาตนเองให้มีศักยภาพที่ดีขึ้น


 ประเมินเพื่อน     

cupcute4.jpg image by MMEEWW เพื่อนในกลุ่มรวมถึงเพื่อนในห้องพูดคุยถึงข้อสงสัยในเรื่องที่เพื่อนออกมานำเสนอว่ามีทักษะมีการจัดกิจกรรมอย่างไรวิธีการทำการดำเนินกิจกรรมต่างๆมีการช่วยกันตอบคำถามกับอาจารย์อย่างสนุนสนานมีการพูดคุยโต้แย้งถึงข้อสงสัยที่เกิดขึ้น


ประเมินอาจารย์

 cupcute4.jpg image by MMEEWW อาจารย์มีการถามถึงวิธีและกระบวนการทำของงานวิจัยและการจัดกิจกรรมของโทรทัศน์ว่าเขาใช้วิธีอะไรมีการสอนอย่างไรมีการใช้คำถามปลายเปิดเพื่อให้เด็กเกิดข้อสงสัยและเกิดกระบวนการคิดการหาคำตอบมีการอธิบายและสรุปถึงเรื่องที่เพื่อนออกมานำเสนออย่างเข้าใจชัดเจน 


บันทึกอนุทินครั่งที่14

  

    วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย 


วันที่ 18 เดือน พฤศจิกายน 2557  




นำเสนอแผนการสอ


            หน่วยนกหงส์หยก สอนเรื่อง ชนิด และลักษณะ ของนกหงส์หยก

    หน่วย สับปะรดสอนเรื่องประโยชน์ของสับปะรด และ ข้อควรระวังของสับปะรด

      หน่วย ส้มสอนเรื่อง ประโยชน์และข้อควรระวังของส้ม



   

  นำเสนอวิจัยและโทรทัศน์ครู

 เรื่องโทรทัศน์ครู เรื่อง นม+สี+น้ำยาล้างจานสำหรับเด็กอนุบาล

        เด็กปฐมวัยเป็นวัยที่มีความอยากรู้อยากเห็นต่อสิ่งแวดล้อมอยู่ตลอดเวลา เพราะเป็นวัยที่มีการพัฒนาทางสติปัญญา ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหา เหตุผล แสวงหาความรู้ สามารถแก้ปัญหาได้ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ให้กับเด็กปฐมวัยมุ่งเน้นพัฒนาการ การทดลองเกี่ยวกับแรงตึงผิว เริ่มจากการเทน้ำนมใส่จาน หยดสีลงไปในนม(สีเป็นสีผสมอาหารปลอดภัยกับเด็ก)แล้วหยดน้ำยาล้างจานลงไป เราจะเห็นนมไหลเวียนแล้วพาสีวิ่งเป็นสายและลวดลายต่าง ๆ สาเหตุก็คือน้ำยาล้างจานทำให้แรงตึงผิวลดลงไป นมที่อยู่ใกล้น้ำยาล้างจานจึงแตกกระจายและนมจากส่วนอื่นก็ไหลมาแทนที่(กลายเป็น"กระแสนม")และวิ่งชนสีและพาสีวิ่งไปด้วย กลายเป็นลวดลายต่าง ๆ ตอนแรกลักษณะของสีก็เป็นหยด ๆ ไม่มีการกระจายตัว เพราะว่านมมีแรงตึงผิวที่พยายามจะยึดผิวหน้าของน้ำนมไว้(ซึ่งแรงตึงผิวนี้เป็นคุณสมบัติอย่างหนึ่งของของเหลว)แต่เมื่อเราหยดน้ำยาล้างจานซึ่งมีสารลดแรงตึงผิว ผสมลงน้ำนม น้ำยาล้างจานซึ่งมีสารลดแรงตึงผิว ทำให้สีสามารถกระจายตัวออกไปในน้ำนม เมื่อเด็ก ๆ เห็นการกระจายตัวของสี   เด็ก ๆ ตื่นเต้นและอยากที่จะออกมาเป็นตัวแทนในการทำการทดลอง เด็กทุกคนจะได้ปฏิบัติคนละหนึ่งขั้นตอน 

 2.นางสาว จุทาภรณ์  แก่นแก้ว 
 เรื่องสร้างพื้นฐานการเรียนรู้กับกิจกรรม 5 ประสาทสัมผัส

เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อสร้างความพร้อมพื้นฐาน ให้กับเด็กในด้านสังคม ร่างกาย
 สติปัญญา
กิจกรรมสร้างพื้นฐานการเรียนรู้กับกิจกรรมประสาทสัมผัสทั้ง 5 เป็นการกระตุ้น ท้าทายความคิด ฝึกแก้ปัญหาและฝึกจินตนาการของมนุษย์ ประสาทสัมผัสทั้ง 5 จะช่วยให้เด็กฉลาดได้
ครูใช้สื่อวัสดุอุปกรณ์ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน กระตุ้นให้เด็กเกิดการรับรู้ที่ดี ตลอดทั้งให้เด็กได้เรียนรู้ตัวเอง และบุคคลอื่น 
กิจกรรมพัฒนาด้านสติปัญญา เสริมสร้างจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์

  3.เรื่องการพัฒนากระบวนการวิทยาศาสตร์พื้นฐานของเด็กปฐมวัยโดยการใช้รูปแบบกิจกรรมศิลป
สร้างสรรค์เพื่อการเรียนรู้ 

การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

1.ให้เด็กเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ (Active Learning) การลงมือกระทำจริงด้วยตนเองการได้รับประสบการณ์ตรงจากการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5

2.จัดกิจกรรมตามสภาพจริง (Authentic activity) การจัดกิกรรมที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมที่เด็กอาศัยอยู่เป็นการส่งเสริมดารเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม

3. ด้านประสบการณ์เดิมของเด็ก (prior knowledge) การเรียนรู้สิ่งใหม่นั้นฐานมาจากประสบการณ์เดิมของเด็ก

4. สร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับเด็ก (Teacher and Child interaction) ครูต้องเป็นผู้ให้ คำแนะนำ กำลังใจ เอื้ออำนวยช่วยเหลือให้เด็กเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง

5. สะท้อนความคิด (Reflective thinking) ระหว่างที่จัดกิจกรรมเรียนรู้ การสะท้อนความคิดเป็นลักษณะหนึ่งที่ต้องกระตุ้นให้เด็กเกิดความคิดไตร่ตรองถึงความเป็นไปได้เกี่ยวกับการกระทำที่ปฏิบัติลงไป

 6.  เรื่อง ดินน้ำมันลอยได้อย่างไร


"ไข่เทอริยากิ"

สามารถนำไปสอนเด็กได้เพราะขั้นตอนไม่ยุ่งยาก อุปกรณ์และส่วนผสมหาซื้อง่ายได้

                 ส่วนผสม

               ไข่ไก่ ( Egg )
              ข้าวสวย ( Rice )
              ผักต่างๆ ( เช่น แครท / ต้นหอม เป็นต้น หรือ ผักที่เราชอบ )
              ปูอัด 
              ซอสปรุงรส
              เนย 

             วิธีทำไข่เทอริยากิ

             ตีไข่ใส่ถ้วย
            นำส่วยผสมที่เตรียมใส่ลงในไข่ในอัตราส่วนที่พอดี คนให้เข้ากัน
            นำเนยใส่ในหลุมกระทะ
            เท่ไข่และส่วนผสมที่เราเตรียมในกระทะ

    การทำไข่เทอริยากิ เป็นกิจกรรมที่เหมาะสมกับเด็ก เพราะ เด็กสามารถลงมือทำด้วยด้วยตนเอง เด็กจะเกิดความสนุกสนาน และการทำกิจกรรมควรมีครูเป็นผู้ดูแลอย่างใกล้ชิด
                   สิ่งที่จะนำไปพัฒนา

      เราสามารถนำแผนการเรียนการสอนของกลุ่มเพื่อน นำไปปรับปรุงแก้ไขใช้ได้  เพราะการเขียนแผนการเรียนการสอนเป็นสิ่งสำคัญมากที่ต้องทำไปใช้ให้เกิดประโชยน์และนำไปสอนกับเด็กได้


                 การประเมินผล


·         ตนเอง    ตั้งใจฟังกลุ่มของเพื่อนเสนอแผนการเรียนการสอนและออกไปนำเสนอแผนการเรียนการสอนของกลุ่มตัวเองด้วย
·         เพื่อน      ตั้งใจเรียนและฟังเพื่อนนำเสนาองานการการเรียนการสอน สนใจในการทำกิจกรรมCookingมาก
·         อาจารย์   ให้คำแนะนำเพิ่มเติมให้แต่ละกลุ่ม เพื่อจะนำไปปรับปรุงแก้ไข